top of page

เที่ยวอ่างทอง

อ่างทอง มีแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญมากมายทั้งทางประวัติศาสตร์ วิถีชีวิต และภูมิปัญญาชาวบ้านปัจจุบันอ่างทองอุดมไปด้วยงานหัตถกรรมท้องถิ่น

จังหวัดชัยนาท

สวนนกชัยนาท

 

ภายในกรงนกเป็นสถานที่จัดแสดงนกพันธุ์ต่าง ๆ  มากมาย โดยจะปล่อยไห้อยู่ตามธรรมชาติ ซึ่งมีนกกว่า 100 ชนิด เป็นนกชนิดที่มีในประเทศและนกที่นำมาจากต่างประเทศ

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดชัยนาท

สวนนกชัยนาท

 

ภายในกรงนกเป็นสถานที่จัดแสดงนกพันธุ์ต่าง ๆ  มากมาย โดยจะปล่อยไห้อยู่ตามธรรมชาติ ซึ่งมีนกกว่า 100 ชนิด เป็นนกชนิดที่มีในประเทศและนกที่นำมาจากต่างประเทศ

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดชัยนาท

สวนนกชัยนาท

 

ภายในกรงนกเป็นสถานที่จัดแสดงนกพันธุ์ต่าง ๆ  มากมาย โดยจะปล่อยไห้อยู่ตามธรรมชาติ ซึ่งมีนกกว่า 100 ชนิด เป็นนกชนิดที่มีในประเทศและนกที่นำมาจากต่างประเทศ

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดอ่างทอง

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดอ่างทอง

วัดม่วง 

 

ภายในวัดมีสถานที่สำคัญหลายแห่ง เช่น พระอุโบสถ ล้อมรอบด้วยกลีบบัวสีชมพูขนาดใหญ่ที่สุดในโลก วิหารแก้ว ชั้นล่าง เป็นพิพิธภัณฑ์วัตถุมงคลและวัตถุโบราณ 

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดอ่างทอง

วัดต้นสน 

 

เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปปางสะดุ้งมาร พระนามว่า สมเด็จพระพุทธนวโลกุตตรธัมมบดีศรีเมืองทอง หรือเรียกชื่อย่อว่า “สมเด็จพระศรีเมืองทอง”

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดอ่างทอง

วัดสระเกษ 

 

วัดนี้เป็นวัดเก่าตั้งแต่สมัยอยุธยา ตั้งอยู่ที่ตำบลชัยภูมิ ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาทิศตะวันออก ห่างจากอำเภอเมืองอ่างทอง ประมาณ 15 กิโลเมตร

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดอ่างทอง

วัดไชโยวรวิหาร 

เดิมเป็นวัดราษฏร์สร้างมาแต่ครั้งใดไม่ปรากฏ มีความสำคัญขึ้นมาในสมัยรัชกาลที่ 4 เมื่อสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) แห่งวัดระฆังโฆสิตาราม ธนบุรี

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดอ่างทอง

วัดจันทราราม 

 

ในบริเวณวัดแห่งนี้มีต้นไม้ขึ้นหนาแน่น จึงเป็นที่อยู่อาศัยและแพร่พันธุ์ค้างคาวแม่ไก่ และนกนานาชนิดมาหลายชั่วอายุคนแล้ว ค้างคาวแม่ไก่เหล่านี้จะออกหากินในเวลากลางคืน

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดอ่างทอง

พระตำหนักคำหยาด 

 

อยู่ในท้องที่ตำบลคำหยาด ถัดจากวัดโพธิ์ทอง ไปทางทิศตะวันตกประมาณ 2.5 กิโลเมตร บนถนนสายเดียว สภาพปัจจุบันมีเพียงฝนัง 4 ด้าน ตัวอาคารตั้งโดดเด่นอยู่กลางทุ่งนา ก่อด้วยอิฐถือปูน

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดอ่างทอง

วัดสี่ร้อย

อยู่ริมฝั่งแม่น้ำน้อย หมู่ที่ 4 ตำบลสี่ร้อย ไปตามทางหลวงหมายเลข 3454 กิโลเมตรที่ 31–32 ( บนเส้นทางสายโพธิ์พระยา-ท่าเรือ หรืออ่างทอง -วิเศษชัยชาญ 

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดอ่างทอง

วัดขุนอินทประมูล

เดิมประดิษฐานอยู่ในวิหารแต่ถูกไฟไหม้ปรักหักพังไป เมื่อคราวเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 1 เหลือแต่องค์พระตากแดดตากฝนอยู่กลางแจ้งมานานนับเป็นร้อยๆ ปี

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดอ่างทอง

หมู่บ้านทำกลอง

 

ชาวบ้านแพเริ่มผลิตกลองมาตั้งแต่ พ.ศ.2470 โดยจะเริ่มหลังฤดูเก็บเกี่ยว วัตถุดิบที่ใช้ทำกลองได้แก่ ไม้ฉำฉาเพราะเป็นไม้เนื้ออ่อนที่สามารถขุดเนื้อไม้ได้ง่ายกับหนังวัว เราสามารถชมกรรมวิธีการทำกลอง

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดอ่างทอง

ศูนย์ตุ๊กตาชาววังบ้านบางเสด็จ

เป็นเรือนไทยทรงสูง อยู่ด้านหลังวัดท่าสุทธาวาส ในพื้นที่ตำบลบ้านบางเสด็จ ตำบลนี้เดิมชื่อบ้านวัดตาล

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดอ่างทอง

วัดท่าสุทธาวาส

 

วัดนี้เป็นวัดเก่าแก่แต่โบราณ ในสมัยอยุธยาตอนต้น เวลาศึกสงครามบริเวณนี้จะเป็นเส้นทางเดินทัพข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา การเดินทางใช้เส้นทางสาย อยุธยา-อ่างทอง

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดอ่างทอง

หมู่บ้านจักสาน

 

งานฝีมือจักสานอันลือชื่อของอ่างทอง ส่วนมากจะเป็นฝีมือของชาวอำเภอโพธิ์ทอง แทบทุกครัวเรือนที่ตั้งบ้านเรือนเรียงราย
 

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดอ่างทอง

วัดอ้อย 

สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยอยุธยาแต่จะสร้างในสมัยใด ใครเป็นผู้สร้างไม่ปรากฎหลักฐานแน่ชัด พระอุโบสถเป็นอาคารขนาดใหญ่หกห้อง 

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดอ่างทอง

วัดป่าโมกวรวิหาร

 

ภายในวัดแห่งนี้มีพระพุทธไสยาสน์ที่งดงามมากองค์หนึ่งของเมืองไทย องค์พระก่ออิฐถือปูนปิดทอง มีความยาวจากพระเมาลีถึงปลายพระบาท 22.58 เมตร

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดอ่างทอง

อนุสาวรีย์นายดอก นายทองแก้ว 

 

เป็นอนุสรณ์สถานที่ชาววิเศษชัยชาญและชาวอ่างทองร่วมกันสร้าง เพื่อรำลึกถึงคุณงามความดีของวีรบุรุษแห่งบ้านโพธิ์

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดอ่างทอง

พิพิธภัณฑ์ตำนานเมืองอ่างทอง

เป็นสถานที่จัดแสดงเรื่องราวของเมืองอ่างทองในด้านต่าง ๆ โดยผ่านระบบมัลติมีเดียที่ทันสมัยจัดแสดงเป็น ๙ ห้อง

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดอ่างทอง

ศาลหลักเมือง

เป็นอาคารจตุรมุข ตัวศาลสูงจากพื้นประมาณ ๑.๕ เมตร ศาลหลักเมืองเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์เป็นที่สถิตย์ของเทพารักษ์พระเสื้อเมือง

จังหวัดอ่างทอง

วัดต้นสน

 เป็นวัดเก่าแก่โบราณ เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปปางสะดุ้งมาร พระนามว่า สมเด็จพระพุทธนวโลกุตตรธัมมบดีศรีเมืองทอง

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดอ่างทอง

วัดจันทรังษี

วัดนี้มีพื้นที่สองฝั่งถนน ฝั่งทิศตะวันออกมีพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ประชาชนนิยมเรียกว่า “หลวงพ่อโยก”  

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดอ่างทอง

วัดราชปักษี

 

ภายในวัดมีพระพุทธไสยาสน์องค์ใหญ่มีลักษณะคล้ายพระพุทธไสยาสน์วัดป่าโมกแต่มีขนาดย่อมกว่าเล็กน้อย สันนิษฐานว่าเป็นพระพุทธรูปเก่าสมัยอยุธยา

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดอ่างทอง

ฟาร์มตัวอย่างตามพระราชดำริ

โดยน้อมนำพระราชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาดำเนินการเพื่อให้ได้ผลผลิตที่ปลอดภัยจากสารพิษ

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดอ่างทอง

โครงการพัฒนาพื้นที่แก้มลิงหนองเจ็ดเส้น

เป็นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานเพื่อบรรเทาอุทกภัย เก็บกักน้ำสำหรับอุปโภคบริโภค

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดอ่างทอง

อนุสาวรีย์พันท้ายนรสิงห์

 

เป็นที่ระลึกถึงพันท้ายนรสิงห์ซึ่งเป็นชาวบ้านนรสิงห์ และเป็นพันท้ายเรือพระที่นั่งเอกไชยสมัยพระเจ้าเสือ ซึ่งยืนยันขอรับโทษประหารชีวิตตามกฎมณเฑียรบาลที่ไม่สามารถบังคับเรือพระที่นั่ง

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดอ่างทอง

วัดท่าอิฐ พระธาตุเจดีย์ศรีโพธิ์ทอง

เป็นที่ปั้นเผาอิฐนำไปก่อสร้างวัดขุนอินทประมูล นับว่าเป็นสถานที่ขนอิฐหรือท่าขนอิฐ

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดอ่างทอง

วัดมหานาม

วัดแห่งนี้ เป็นที่ประดิศฐานขององค์พระสังกัจจายน์ขนาดใหญ่ เหนือเศียรพระสังกัจจายน์ขึ้นไป บริเวณบนฉัตรสร้างเป็นเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ และธาตุสาวก

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดอ่างทอง

วัดจุฬามณี

 

วัดจุฬามณี สันนิษฐานว่าสร้างภายหลังเสียกรุงศรีอยุธยาปี พ.ศ. ๒๓๑๐ โดยพระภิกษุรูปหนึ่งที่หนีภัยพม่ากลับมาได้ วิหารมีฐานโค้งสำเภา เจดีย์สูง ๓๘ เมตร

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดอ่างทอง

โรงพยาบาลเรือ 

ผู้ดำเนินการก่อตั้งและดูแลโรงพยาบาลเรือแห่งนี้ คือ พระอธิการสมศักดิ์ สุวัณโน เจ้าอาวาสวัดสุวรรณราชหงส์ ท่านเป็นช่างผู้ซ่อมเรือโดยมีชาวบ้านที่มีความรู้ความชำนาญในการบำรุงรักษา

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดอ่างทอง

ศูนย์ศิลปาชีพสีบัวทอง 

การเสริมสร้างรายได้ให้ราษฎรโดยมีผู้เชี่ยวชาญมาฝึกอบรมให้ความรู้ในการนำศิลปะมาวาดลวดลายอยู่บนผืนผ้า ภาชนะ เครื่องใช้ต่างๆ

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดอ่างทอง

กลุ่มแม่บ้านจักสานพลาสติกศรีพราน

 

   กลุ่มแม่บ้านจักสานพลาสติกศรีพราน ตำบลศรีพราน ปัจจุบันคุณกัลยา อินทร์โต เป็นประธานกลุ่ม มีสมาชิกในกลุ่มมาช่วยกันผลิตงานประเภท ตระกร้า กระถาง 

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดอ่างทอง

ตลาดศาลเจ้าโรงทอง

ตลาดศาลเจ้าโรงทอง เป็นตลาดเก่ามีอายุกว่า ๑๐๐ ปี เป็นชุมชนของชาวไทยเชื้อสายจีนส่วนใหญ่ ยังคงเห็นสภาพบ้านเรือน ตึกแถวไม้ โรงแรมเก่า โรงสีข้าว ร้านขายของชำ ร้านขายเครื่องยาจีนและไทย

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดอ่างทอง

ศูนย์ศึกษานิเวศวิทยา 

   ศูนย์ศึกษานิเวศวิทยา“ตะนาวะสี เฟิน การ์เด้นท์” เป็นศูนย์การเรียนรู้ อนุรักษ์ และเพาะขยายพันธุ์เฟินของเอกชนแห่งแรกของประเทศไทย มีเนื้อที่ ๑๒ ไร่ 

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดอ่างทอง

วัดโบสถ์

 

วัดโบสถ์ สร้างขึ้นในสมัยอยุธยา ภายหลังเป็นวัดร้างมีสภาพทรุดโทรมต่อมาได้รับการบูรณะใหม่เมื่อวันที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๒๕ อุโบสถเก่าแก่สมัยอยุธยาและมีรูปแบบทรงมหาอุดที่ชาวบ้านในพื้นที่

จังหวัดอ่างทอง

วัดสังกระต่าย

 

สถานที่ท่องเที่ยว Unseen แห่งใหม่ในอ่างทอง ตัวโบสถ์เก่าแก่มีต้นโพธิ์ ขนาดใหญ่ขึ้นปกคลุมรอบโบสถ์ 4 ต้น รวมถึงปกคลุมภายในโบสถ์ด้วย

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
bottom of page