top of page
เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดชัยนาท

สวนนกชัยนาท

 

ภายในกรงนกเป็นสถานที่จัดแสดงนกพันธุ์ต่าง ๆ  มากมาย โดยจะปล่อยไห้อยู่ตามธรรมชาติ ซึ่งมีนกกว่า 100 ชนิด เป็นนกชนิดที่มีในประเทศและนกที่นำมาจากต่างประเทศ

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดชัยนาท

สวนนกชัยนาท

 

ภายในกรงนกเป็นสถานที่จัดแสดงนกพันธุ์ต่าง ๆ  มากมาย โดยจะปล่อยไห้อยู่ตามธรรมชาติ ซึ่งมีนกกว่า 100 ชนิด เป็นนกชนิดที่มีในประเทศและนกที่นำมาจากต่างประเทศ

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

จังหวัดชัยนาท

สวนนกชัยนาท

 

ภายในกรงนกเป็นสถานที่จัดแสดงนกพันธุ์ต่าง ๆ  มากมาย โดยจะปล่อยไห้อยู่ตามธรรมชาติ ซึ่งมีนกกว่า 100 ชนิด เป็นนกชนิดที่มีในประเทศและนกที่นำมาจากต่างประเทศ

หมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP บางเจ้าฉ่า 
แหล่งเครื่องจักสานเลื่องชื่อ จังหวัดอ่างทอง

หมู่บ้านจักสาน อ่างทอง เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจแห่งหนึ่งในจังหวัดอ่างทอง จังหวัดอ่างทองเป็นจังหวัดที่มีชื่อเสียงทางด้านการจักสานมาช้านาน ชาวบ้านในจังหวัดอ่างทอง รวมตัวกันจัดตั้งเป็นกลุ่มเครื่องจักสาน เครื่องหวาย เครื่องจักสานไม้ไผ่ เช่น กลุ่มตำบลองครักษ์ กลุ่มตำบลบางเจ้าฉ่า กลุ่มตำบลบางระกำ กลุ่มตำบลพลับและกลุ่มตำบลอิทประมูล

แหล่งหัตกรรมที่ขึ้นชื่อของจังหวัดคือ “บ้านบางเจ้าฉ่า” ตำบลบางเจ้าฉ่าเป็นตำบลที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา

งานฝีมือจักสานอันลือชื่อของอ่างทองส่วนมากจะเป็นฝีมือของชาวอำเภอโพธิ์ทองแทบทุกครัวเรือนที่ตั้งบ้านเรือนเรียงรายอยู่ทั้งสองฟากฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา มีการจัดตั้งเป็นกลุ่มการผลิตเครื่องจักสานเครื่องหวาย กลุ่มจักสานไม้ไผ่ เช่น กลุ่มตำบลองครักษ์ กลุ่มตำบลบางเจ้าฉ่า กลุ่มตำบลบางระกำ กลุ่มตำบลพลับ และกลุ่มตำบลอินทประมูล เป็นต้น แหล่งหัตถกรรมเครื่องจักสานที่สำคัญได้แก่ “บางเจ้าฉ่า” ตั้งอยู่ที่หมู่ 8 บ้านยางทอง ตำบลบางเจ้าฉ่า

แหล่งหัตถกรรมจะตั้งอยู่บริเวณหลังวัด ที่นี่เป็นแหล่งเครื่องจักสานด้วยไม้ไผ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี ได้เคยเสด็จพระราชดำเนินมาเยือนและได้พระราชทานคำแนะนำให้ราษฎรปลูกไม้ไผ่ สีสุก เพื่อเป็นวัตถุดิบในการทำ จักสานให้มีปริมาณมากขึ้น ก่อนที่จะมีปัญหาการขาดแคลน งานจักสานของบางเจ้าฉ่านี้มีความประณีตสวยงามเป็นพิเศษ และสามารถพัฒนางานฝีมือตามความนิยมของตลาด จึงได้รับการยกย่องว่าเป็นหมู่บ้านตัวอย่างในการพัฒนาอาชีพ นอกจากบางเจ้าฉ่าแล้ว ห่างจากอำเภอโพธิ์ทองไปอีกประมาณ  4 กม. ก็มีผลิตภัณฑ์เครื่องจักสานไม้ไผ่เช่นเดียวกัน

การเดินทางไปยัง หมู่บ้านจักสาน อ่างทอง

ใช้เส้นทางสายอ่างทอง-โพธิ์ทอง ประมาณ 9 กม. ถึงคลองชลประทานยางมณี จากนั้นเลี้ยวขวาเลียบคลองไปอีกประมาณ 5 กม. จึงเลี้ยวขวาไปตามทางเข้าวัดยางทอง  แหล่งหัตถกรรมจะตั้งอยู่บริเวณหลังวัด

bottom of page